นิตสารนาวิกศาสตร์
นาวิกศาสตร์ มีนาคม 2563
รายละเอียด
- รายละเอียด
- หมวดหลัก: เว็บเพจ
- สร้างเมื่อ วันอังคาร, 17 พฤศจิกายน 2563 13:50
- อัพเดตล่าสุดเมือ วันอังคาร, 17 พฤศจิกายน 2563 13:52
- เผยแพร่เมื่อ วันอังคาร, 17 พฤศจิกายน 2563 13:50
- เขียนโดย Webmaster
- ฮิต: 1070
นาวิกศาสตร์ มีนาคม 2563
รายชื่อบทความประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓
รายละเอียด
- รายละเอียด
- หมวดหลัก: เว็บเพจ
- สร้างเมื่อ วันจันทร์, 16 พฤศจิกายน 2563 13:37
- อัพเดตล่าสุดเมือ วันอังคาร, 17 พฤศจิกายน 2563 12:09
- เผยแพร่เมื่อ วันจันทร์, 16 พฤศจิกายน 2563 13:37
- เขียนโดย Webmaster
- ฮิต: 1193
บันทึกการฝึกครั้งสุดท้าย ตอนที่ ๑
รายละเอียด
- รายละเอียด
- หมวดหลัก: เว็บเพจ
- สร้างเมื่อ วันอังคาร, 29 ตุลาคม 2556 18:58
- อัพเดตล่าสุดเมือ วันพุธ, 28 พฤษภาคม 2557 17:35
- เผยแพร่เมื่อ วันอังคาร, 29 ตุลาคม 2556 18:58
- เขียนโดย Webmaster
- ฮิต: 44443
บทความเรื่อง "บันทึกการฝึกครั้งสุดท้าย" (ตอนที่ ๑)
โดย.....พลเรือเอก ศุภกร บูรณดิลก
ปีสุดท้ายของการรับราชการ ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าร่วมการฝึกกองทัพเรือ ปี พ.ศ.๒๕๕๔ โดยได้รับมอบให้ปฏิบัติหน้าที่ “หัวหน้าส่วนควบคุมการฝึกและประเมินผล” ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบการวางแผน กำหนดแนวทางและควบคุมการฝึกให้เป็นไปตามความมุ่งหมายที่ทางราชการกำหนด พร้อมกับประเมินผล รายงานข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะ และบทเรียนที่ได้รับจากการฝึกให้กองอำนวยการฝึกทราบ ในการนี้สำหรับการจัดทำสถานการณ์และลำดับเหตุการณ์หลักที่ใช้ในการฝึกปัญหาที่บังคับการ ซึ่งเป็นงานสำคัญในหน้าที่นั้นได้กำหนดจุดมุ่งไว้คือ นอกจากต้องสนองตอบความมุ่งหมายที่หน่วยเหนือกำหนดแล้ว การจัดทำสถานการณ์และลำดับเหตุการณ์หลักนี้ มีความต้องการให้หน่วย/ผู้รับการฝึกได้เผชิญกับภัยคุกคามที่มีขีดความสามารถสูงสุดที่เป็นไปได้ และจะต้องได้รับการฝึกตามหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติในยามสงครามพร้อมกันนั้น จะต้องมีความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญ ของการปฏิบัติกาและการตอบโต้การปฏิบัติการของข้าศึกที่จะส่งผลกระทบต่อการแพ้ชนะของสงครามและความอยู่รอดของประเทศชาติ ..........
สมาชิกและผู้อ่านสามารถติดตามอ่านต่อได้ในนิตยสารนาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๕ เล่มที่ ๑๒ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๕
นายทหารติดตามกับการประชุม APICC
รายละเอียด
- รายละเอียด
- หมวดหลัก: เว็บเพจ
- สร้างเมื่อ วันอังคาร, 29 ตุลาคม 2556 19:54
- อัพเดตล่าสุดเมือ วันพุธ, 28 พฤษภาคม 2557 17:36
- เผยแพร่เมื่อ วันอังคาร, 29 ตุลาคม 2556 19:54
- เขียนโดย Webmaster
- ฮิต: 44175
นายทหารติดตามกับการประชุม APICC
โดย......นาวาตรีหญิง กันทิมา ชะระภิญโญ
ท่านเบนจามิน ดิสราเอลี Benjamin Disraeli อดีตนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร เคยกล่าวไว้ว่าความลับของความสำเร็จในชีวิตคือ จงเตรียมตัวเองให้พร้อมเสมอสำหรับโอกาสที่กำลังมาถึง (The secret of success in life is to be ready for your opportunity when it comes) ซึ่งผู้เขียนเองก็ยึดหลักปฏิบัติเช่นนั้นเสมอมาจนเมื่อคราวที่ได้รับการประสานจากกรมแพทย์ทหารเรือให้ไปเป็นนายทหารติดตามเจ้ากรมข่าวทหารในการประชุมเจ้ากรมข่าวทหารเอเชีย-แปซิฟิก หรือ Asia-Pacific Intelligence Chiefs Conference หรือนิยมเรียกกันว่า APICC (เอ ปิก) APICC เป็นความริเริ่มของกองกำลังสหรัฐ ฯ ภาคพื้นแปซิฟิก ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการเชิญเจ้ากรมข่าวทหารของประเทศในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก เข้าร่วมพบปะหารือเพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางด้านการข่าวและกระชับความสัมพันธ์ระหว่างกันให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น บนพื้นฐานของการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารทางด้านความมั่นคง โดยกองกำลังสหรัฐ ฯ ภาคพื้นแปซิฟิกจะเชิญประเทศในภูมิภาค ๑ ประเทศเข้าร่วมเป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุม ฯ ในแต่ละครั้ง ทั้งนี้ ในห้วงเวลาที่ผ่านมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้มีการจัดการประชุม ฯ มาแล้วรวม ๔ ครั้ง โดยมีประเทศที่เป็นเจ้าภาพร่วมกับสหรัฐ ฯ นับตั้งแต่ ครั้งที่ ๑-๔ คือ มาเลเซีย สิงคโปร์ เกาหลีใต้และญี่ปุ่น ซึ่งในการประชุม APICC ครั้งที่ ๔ ณ กรุงโตเกียว นั้น เจ้ากรมข่าวทหาร กองกำลังสหรัฐ ฯ ภาคพื้นแปซิฟิกได้ทาบทามกรมข่าวทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ให้ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม APICC ครั้งที่ ๕ ณ กรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ซึ่งกองทัพไทยได้ตอบรับ และกำหนดจัดการประชุมดังกล่าวขึ้นในระหว่าง วันที่ ๑๑ - ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพ ฯ ..........
สมาชิกและผู้อ่านสามารถติดตามอ่านต่อได้ในนิตยสารนาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๖ เล่มที่ ๑ เดือน มกราคม ๒๕๕๖
นาโนเทคโนโลยีนวัตกรรมที่กองทัพไม่ควรมองข้าม
รายละเอียด
- รายละเอียด
- หมวดหลัก: เว็บเพจ
- สร้างเมื่อ วันอังคาร, 29 ตุลาคม 2556 19:49
- อัพเดตล่าสุดเมือ วันพุธ, 28 พฤษภาคม 2557 17:37
- เผยแพร่เมื่อ วันอังคาร, 29 ตุลาคม 2556 19:49
- เขียนโดย Webmaster
- ฮิต: 43676
นาโนเทคโนโลยีนวัตกรรมที่กองทัพไม่ควรมองข้าม
โดย......สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
การรบ การทำสงคราม และการดูแลความสงบเรียบร้อยของประเทศเป็นหน้าที่หลักของทหาร ดังนั้นทหารจะต้องมีความพร้อมด้านกำลังรบ และอาวุธยุทโธปกรณ์ รวมทั้งต้องเรียนรู้ ติดตามเทคโนโลยีให้ทันสมัย เพื่อเป็นการเสริมสร้างศักยภาพ ความรู้ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในภารกิจทางทหาร อันจะก่อให้เกิดความได้เปรียบในการรักษาผลประโยชน์ของชาติ
“นาโนเทคโนโลยี” (Nanotechnology) เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่กำลังได้รับความสนใจในศตวรรษที่ ๒๑ นี้ การศึกษาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของวัสดุที่มีขนาดระดับนาโนเมตร หรือ “นาโนศาสตร์” (Nano Science) เป็นสหวิทยาการ (Multidisciplinary Area) ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาการหลายแขนง เช่น เคมี ชีววิทยา ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้เอง การค้นคว้าวิจัยต่อยอดด้านนาโนเทคโนโลยีเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพสูงจึงพัฒนาแบบก้าวกระโดดอย่างรวดเร็ว .....
สมาชิกและผู้อ่านสามารถติดตามอ่านต่อได้ในนิตยสารนาวิกศาสตร์ ปีที่ ๙๖ เล่มที่ ๑ เดือน มกราคม ๒๕๕๖